top of page

ดร.รวิภา ยงประยูร

ผลงานอาจารย์ดร.รวิภา ยงประยูร

 

งานวิจัย

  • การวิเคราะห์ศักยภาพในการใช้งานระบบทำความเย็นด้วยพลังงานแสงอาทิตย์ในประเทศไทย:
    เขตจำหวัดลำปาง

 

  • โครงการออกแบบและสร้างรถต้นแบบประหยัดเชื้อเพลิงเพื่อร่วมเข้าแข่งขัน Shell Eco-Marathon Asia 2010

 

  • การบริหารจัดการเศษวัสดุเหลือใช้ของกลุ่มอาชีพการเพาะเห็ดตำบลปงยางคก อำเภอห้างฉัตร จังหวัดลำปาง ด้วยเทคโนโลยีไพโรไลซิส

 

  • โครงการออกแบบ สร้าง และทดสอบรถต้นแบบพลังงานแสงอาทิตย์เพื่อเข้าร่วมการแข่งขัน Shell Eco Marathon 2011
     

  • แนวทางการเพิ่มเสถียรภาพของเทคโนโลยีในกระบวนการแปรรูปชีวมวลจากเศษวัสดุเหลือใช้ของกลุ่มอาชีพเพาะเห็ดด้วยวัสดุเหลือทิ้งจากกระบวนการขึ้นรูปเซรามิก
     

  • การประเมินวัฏจักรชีวิตของรถไฟฟ้าจากพลังงานแสงอาทิตย์เปรียบเทียบกับรถไฟฟ้าพลังงานไฟฟ้า
     

  • การพัฒนาผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนรายวิชาฟิสิกส์ช่างอุตสาหกรรมของนักศึกษาคณะเทคโนโลยีอุตสาหกรรม มหาวิทยาลัยราชภัฏลำปาง ด้วยนวัตกรรมรถต้นแบบประหยัดเชื้อเพลิง "SPEED ONE"

 

  • แนวทางการบูรณาการจัดการปัญหาก้อนวัสดุเหลือใช้จากการเพาะเห็ดบ้านทุ่งบ่อแป้น ต.ปงยางคก อ.ห้างฉัตร จ.ลำปาง

 

  • การพัฒนากระบวนการแปรรูปเห็ดของกลุ่มอาชีพเพาะเห็ดด้วยเครื่องอบพลังงานแสงอาทิตย์แบบเรือนกระจก

 

  • การพัฒนาและประเมินสมรรถนะรถไฟฟ้าต้นแบบพลังงานไฟฟ้าแสงอาทิตย์

 

  • แนวทาการบูรณาการการจัดการปัญหาก้อนวัสดุเหลือใช้จากการเพาะเห็ด บ้านทุ่งบ่อแป้น ต.ปงยางคก อ.ห้างฉัตร จ.ลำปาง

 

  • การพัฒนาผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนรายวิชาฟิสิกส์ช่างอุตสาหกรรมของนักศึกษา คณะเทคโนโลยีอุตสาหกรรม มหาวิทยาลัยราชภัฏลำปาง ด้วยการจัดการเรียนการสอนแบบกลุ่มย่อย

 

  • การเพาะเห็ดป่าสู่เห็ดเศรษฐกิจ

 

  • แนวทางการบูรณาการการจัดการปัญหาก้อนวัสดุเหลือใช้จากการเพาะเห็ด บ้านทุ่งบ่อแป้น ตำบลปงยางคก อำเภอห้างฉัตร จังหวัดลำปาง

 

  • การพัฒนากระบวนการแปรรูปเห็ดของกลุ่มอาชีพเาพะเห็ดด้วยเครื่องอบแห้งพลังงานแสงอาทิตย์แบบเรือนกระจก

 

  • การประเมินศักยภาพพลังงานในการผลิตก๊าซชีวมวลจากเศษอาหารและมูลสัตว์ในเขตพื้นที่มหาวิทยาลัยราชภัฏลำปาง

 

  • รูปแบบการแปรรูปวัสดุที่เหลือใช้จากการเพาะเห็ดเพื่อผลิตพลังงานทดแทนตำบลหลวงใต้ อำเภองาว จังหวัดลำปาง

 

  • การจัดการเชิงนิเวศพลังงานของก้อนวัสดุเหลือใช้จากการเพาะเห็ดปางมะโอ ด้วยการประยุกต์ใช้ปงยางคกโมเดล

 

  • การประเมินสมรรถนะระบบผลิตไฟฟ้าจากเซลล์แสงอาทิตย์แบบต่อเข้ากับระบบสายส่งที่ติดตั้งบนหลังคาของอาคารเทศบาลและองค์การบริหารส่วนท้องถิ่นในเขตจังหวัดลำปาง

 

งานบริการวิชาการ

  • การอบรมสัมนาโครงการบริการวิชาการแก่สังคม การเพิ่มมูลค่าด้วยกระบวนการจัดการอุตสาหกรรมสำหรับกลุ่มอาชีพในชุมชนท้องถิ่น

 

  • นิทรรศการ Lampang Happiness Showcase

 

  • กิจกรรมนำเสนอผลการใช้งานสื่อนวัตกรรมด้านพลังงาน-สิ่งแวดล้อมในชุมชนปี 1บูรณาการกับการเรียนการสอน

 

  • อบรมเชิงปฏิบัติการ "ระบบผลิตแก๊สเชื้อเพลิงจากชีวมวลเศษวัสดุเหลือใช้จากการเกษตร"

 

  • งานฤดูหนาวและของดีนครลำปาง ปี2557

 

  • กิจกรรมบริการวิชาการแก่คณะศึกษาดูงานเครื่องผลิตแก๊สเชื้อเพลิงจากชีวมวลแบบไหลลง จากสำนักงานพลังงานจังหวัดสงขลา

 

  • บริการวิชาการจัดทำค่ายพลังงาน ให้แก่นักเรียนโรงเรียนเสด็จวนชยางค์กูลวิทยา

 

  • อบรมเชิงปฏิบัติการเรื่อง "ระบบแก๊สซิไฟเออร์จากชีวมวลทดแทน LPG ในกลุ่มวิสาหกิจชุมชน ให้แก่สำนักงานพลังงานจังหวัดสงขลา

 

  • บริการวิชาการแก่คณะศึกษาดูงานเครื่องผลิตแก๊สเชื้อเพลิงจากชีวมวลแบบไหลลง จากสำนักงานพลังงานจังหวัดแพร่

 

  • อบรมเชิงปฏิบัติการเรื่อง "ระบบแก๊สซิไฟเออร์จากชีวมวลทดแทน LPG ในกลุ่มบวร บ้าน วัด โรงเรียน"

     

  • การอนุรักษ์พลังงานแบบมีส่วนร่วมในโรงเรียน ของศูนย์วิจัยและพัฒนาพลังงานสู่ชุมชน คณะเทคโนโลยีอุตสาหกรรม มหาวิทยาลัยราชภัฏลำปาง

 

หนังสือและตำรา

  • หนังสือเทคโนโลยีการแปรรูปพลังงานทดแทนและการประยุกต์ใช้งานที่เหมาะสม
    สำนักพิมพ์ ท้อป จำกัด (มีลิขสิทธื์)

 

  • เอกสารประกอบการใช้งานและบำรุงรักษาเครื่องผลิตแก๊สเชื้อเพลิงจากชีวมวลแบบไหลลง
    (มีลิขสิทธิ์)

 

  • เอกสารประกอยการใช้งานและบำรุงรักษาเครื่องผลิตแก๊สเชื้อเพลิงจากชีวมวลแบบไหลลงรุ่นสุดพลัง (มีลิขสิทธิ์)

 

สิ่งประดิษฐ์

  • เครื่องอบแห้งพลังงานแสงอาทิตย์แบบเรือนกระจก - โซลาร์เซลล์

 

  • เครื่องผลิตแก๊สเชื้อเพลิงจากชีวมวลแบบไหลลงรุ่นสุดพลัง

 

รางวัลอื่นๆ

  • อาจารย์ที่มีผลงานวิจัยดีเด่น ปี 2555
    โดยคณะเทคโนโลยีอุตสาหกรรม มหาวิทยาลัยราชภัฏลำปาง

 

  • นักวิจัยเด่น ปี 2556
    โดยเครือข่ายบัณฑิตศึกษามหาวิทยาลัยราชภัฏภาคเหนือ

 

  • นักวิจัยดีเด่นของมหาวิทยาลัยราชภัฏลำปาง
    โดยมหาวิทยาลัยราชภัฏทั่วประเทศ จำนวน 40 แห่ง

bottom of page